วันอาทิตย์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2554

PLAN WEEKLY REPORT 2555

Wk-2011ระหว่างวันที่weekly reportPI ตรวจสอบข่าวและสถานการณ์รายสัปดาห์PI War room
Wk_3925 ก.ย.-1 ต.ค.54วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_402 ต.ค.-8 ต.ค.54นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_419 ต.ค.-15 ต.ค.54กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_4216 ต.ค.-22 ต.ค.54ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_4323 ต.ค.-29 ต.ค.54วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_4430 ต.ค.-5 พ.ย.54นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_456 พ.ย.-12 พ.ย.54กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_4613 พ.ย.-19 พ.ย.54ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_4720 พ.ย.-26 พ.ย.54วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_4827 พ.ย.-3 ธ.ค.54นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_494 ธ.ค.-10 ธ.ค.54กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_5011 ธ.ค.-17 ธ.ค.54ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_5118 ธ.ค.-24 ธ.ค.54วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_5225 ธ.ค.-31 ธ.ค.54นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_124 ธค-31 ธค 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_21 - 7 มค 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_38-14 มค 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_415-21 มค 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_522-28 มค 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_629 มค.-4 กพ 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_75 - 11 กพ 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_812 - 18 กพ 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_919 -25 กพ 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_1026 กพ - 3 มีค.55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_114-10 มีค 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_1211-17 มีค 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_1318-24 มีค 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_1425-31 มีค 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา



Wk-2011ระหว่างวันที่weekly reportPI ตรวจสอบข่าวและสถานการณ์รายสัปดาห์PI War room
Wk_151-7 เมย 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_168-14 เมย 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_1715-21 เมย 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_1822-28 เมย 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_1929 เมย - 5 พค 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_206-12 พค 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_2113-19 พค 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_2220-26 พค 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_2327 พค -2 มิย 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_243-9 มิย 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_2510-16 มิย 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_2617-23 มิย 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_2724-30 มิย 55วนิดาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_281-7 กค 55นิตยากิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_298-14 กค 55กฤษพงษ์ดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_3015-21 กค 55ปานแก้วชัชชฎาชัชชฎา
Wk_3122-28 กค 55วนิดาชัชชฎาชัชชฎา
Wk_3229 กค - 4 สค 55นิตยาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_335-11 สค 55กฤษพงษ์กิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_3412-18 สค 55ปานแก้วดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์
Wk_3519-25 สค 55วนิดาชัชชฎาชัชชฎา
Wk_3626 สค - 1 กย 55นิตยาดร.เกษร ดร.เกษร 
Wk_372- 8  กย 55กฤษพงษ์กิตติพิชญ์กิตติพิชญ์
Wk_389-15 กย 55ปานแก้วดร.ชาญชัยณรงค์ดร.ชาญชัยณรงค์

วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สถานการณ์โรค Eosinophilic Meningitis

สถานการณ์โรค Eosinophilic Meningitis
สถานการณ์โรค Eosinophilic Meningitis ในภาพรวม
          ในปี 2554 สำนักระบาดวิทยาได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Eosinophilic Meningitis รวมทั้งสิ้น 31 ราย สูงสุดที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 22 เลย มีรายงานสูงสุดที่จังหวัดหนองคาย จำนวน 12 ราย จากการพิจารณาสถานการณ์ในระดับประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 2554 พบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นพื้นที่ที่มีอุบัติการณ์สูงที่สุดในประเทศอย่างเห็นได้ชัด มีจำนวนผู้ป่วยมากกว่าภาคอื่นๆหลายเท่าตัว และเมื่อพิจารณาในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 จังหวัดที่มีรายงานผู้ป่วยโรค Eosinophilic Meningitis สูงที่สุดคือจังหวัดเลย ซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยสูงกว่าจังหวัดอื่นๆอย่างมาก ดังแสดงในภาพที่ 1 4
สถานการณ์โรค Eosinophilic Meningitis ในพื้นที่เขตรวจราชการที่ 10 และ 12
          ตั้งแต่วันที่  1 มกราคม 2554  ถึงวันที่ 27 มีนาคม2554 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6  ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค Eosinophilic Meningitis  จำนวนทั้งสิ้น 16 ราย  คิดเป็นอัตราป่วย 0.19  ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต พบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง  โดยพบเพศชาย9  ราย  เพศหญิง 7  ราย  อัตราส่วนเพศชาย ต่อ เพศหญิง  เท่ากับ 1.29 : 1
          กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 35 - 44 ปี  อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 45 ราย รองลงมาคือ กลุ่มอายุ  25 34 ปี  อัตราป่วยเท่ากับ  0.35    อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือเกษตรกร  จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ  6  ราย  รองลงมาเป็นเด็กในปกครอง/ไม่ทราบอาชีพ จำนวน 5 ราย
          พบผู้ป่วยสูงสุดในเดือน กุมภาพันธุ์จำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 8 ราย  และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง พบว่าการเกิดโรคค่อนข้างใกล้เคียงกับปีก่อนๆ มีบางสัปดาห์ที่พบผู้ป่วยเกินค่ามาตรฐาน แต่เกินด้วยจำนวนไม่มากนัก   ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลทั่วไป  เท่ากับ 12 ราย  โรงพยาบาลชุมชน  เท่ากับ 2 ราย   โรงพยาบาลศูนย์เท่ากับ 1 ราย สถานีอนามัย  เท่ากับ 1 ราย
          จังหวัดที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือจังหวัดหนองคาย อัตราป่วยเท่ากับ 1.32  ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือจังหวัดเลยอัตราป่วยเท่ากับ  0.16 ต่อประชากรแสนคน
          เมื่อพิจารณาจำนวนผู้ป่วยจำแนกรายสัปดาห์ในปี 2554 เปรียบเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี พบว่าบางสัปดาห์มีจำนวนผู้ป่วยเกินค่ามัธยฐาน แต่ในภาพรวมของแต่ละสัปดาห์จำนวนผู้ป่วยส่วนใหญ่
ไม่เกินค่ามัธยฐาน (ภาพที่ 14)
ภาพที่ 11* จำนวนผู้ป่วยโรค Eosinophilic Meningitis จำแนกรายภาค ประเทศไทยตั้งแต่ปี 2549 2554 (ข้อมูลปี 2554 นับจากวันที่ 1 มกราคม – 27 มีนาคม 2554)
จำนวนผู้ป่วย
หมายเหตุ * การนำเสนอด้วยจำนวนผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นภาพของการเกิดโรคในพื้นที่ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นโรคที่มีการรายงานค่อนข้างน้อยในพื้นที่อื่นๆ นอกเหนือจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาพที่ 12  อัตราป่วยโรค Eosinophilic Meningitis จำแนกรายจังหวัด ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2549 2554 (ข้อมูลปี 2554 นับจากวันที่ 1 มกราคม – 27 มีนาคม 2554)















ภาพที่ 13* จำนวนผู้ป่วยโรค Eosinophilic Meningitis จำแนกรายจังหวัด ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2549 - 2553
หมายเหตุ * การนำเสนอด้วยจำนวนผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นภาพของการเกิดโรคในพื้นที่ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นโรคที่มีการรายงานค่อนข้างน้อยในพื้นที่ส่วนใหญ่




ภาพที่ 14 จำนวนผู้ป่วยโรค(ราย) Eosinophilic Meningitis จำแนกรายสัปดาห์
ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด


วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้งานระบบฐานข้อมูลโรคไข้หวัดนกในภาคปศุสัตว์และสาธารณสุข

ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้งานระบบฐานข้อมูลโรคไข้หวัดนกในภาคปศุสัตว์และสาธารณสุข  วันที่ 22 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น 


คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูลโรคไข้หวัดนก

เนื่องจากโรคไข้หวัดนกเป็นโรคติดต่อที่มีสัตว์ปีกเป็นตัวนำเชื้อมาสู่คน ดังนั้นระบบการเฝ้าระวังโรคที่ดีและมีประสิทธิภาพที่จะสามารถตรวจจับสัญญาณ หรือติดตามความเปลี่ยนแปลงของตัวเชื้อไข้หวัดนกได้
ควรจะมีความครอบคลุมในด้านการเฝ้าระวังโรค และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทั้งภาคปสุสัตว์และภาคสาธารณสุข แต่จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่าในปัจจุบัน ฐานข้อมูลระบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก
ในสัตว์โดยกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และในคนโดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยังมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านรายละเอียด และความครอบคลุมของข้อมูล
ตลอดจนทางด้านโครงสร้างของระบบฐานข้อมูล อีกทั้ง ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลในระบบเฝ้าระวังโรคทั้งสองส่วน ทำให้ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันในอันที่จะเฝ้าระวัง และควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว
และมีประสิทธิผล โดยเฉพาะภาคปศุสัตว์นั้น มีความหลากหลายของโปรแกรมที่ยังไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการระหว่างบุคลากรผู้บันทึกข้อมูล และผู้ใช้ข้อมูล สาเหตุที่สำคัญมาจากความยุ่งยาก
ในการใช้โปรแกรม และจำนวนของโปรแกรมซึ่งกระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ที่รับผิดชอบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเชื่อมโยง และบูรณาการข้อมูลการเฝ้าระวังที่อยู่ในเครือข่ายของกรมปศุสัตว์
     ดังนั้น กรมปศุสัตว์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบหลักในระบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกภาคปศุสัตว์ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงเห็นสมควรให้มีการปรับปรุงและพัฒนาระบบฐานข้อมูลไข้หวัดนกในสัตว์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังในสัตว์ให้ดียิ่งขึ้น และเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันระหว่างภาคปศุสัตว์และภาคสาธารณสุขให้ดียิ่งขึ้นต่อไป


1. เพื่อปรับปรุงระบบการรายงานการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกที่ใช้งานยู่ในปัจจุบันให้มีความกระชับ ลดขั้นตอนของการบันทึกข้อมูล และส่ามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้
    ทั้งส่วนกลาง เพื่อการตัดสินใจเชิงนโยบาย และส่วนภูมิภาคในการควบคุมและป้องกันโรค
2. เพื่อสร้างฐานข้อมูลกลางของระบบการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกของกรมปศุสัตว์ที่มีประสิทธิภาพ โดยให้ผู้ควบคุมระบบในเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคมีส่วนร่วม ทั้งในการสร้างและการใช้งานฐานข้อมูล
    กลาง
3. เพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่จำเป็นที่จะต้องใช้ประโยชน์ร่วมกันในการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในรูปแบบบูรณาการระหว่างภาคปศุสัตว์และภาคสาธารณสุข
 
1. มีระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกของสำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์ ที่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยผู้ใช้ที่อยู่ในระบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน
2. มีฐานข้อมูลกลางด้านโรคไข้หวัดนกของกรมปศุสัตว์ที่รวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้ส่งข้อมูลไปยังฐาน ข้อมูลดังกล่าวสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนควบคุมและป้องกัน
    โรคไข้หวัดนกได้
3. มีระบบการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลทีจำเป็นที่จะต้องใช้ประโยชน์ร่วมกันในการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกระหว่างกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และกรมปศุสัตว์ กระทรวงสาธารณสุข
1. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.1 ศูนย์สารสนเทศ ได้แก่ ข้อมูลประชากรสัตว์ปีก
1.2 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ได้แก่ ข้อมูลฟาร์มมาตรฐานสัตว์ปีก และข้อมูลฟาร์มในระบบคอมพาร์ทเมนต์
1.3 สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ ได้แก่ ข้อมูลผลการตรวจตัวอย่างสัตว์ปีกทางห้องปฏิบัติการ
1.4 สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ ได้แก่ ข้อมูลการเฝ้าระวังสัตว์ปีกป่วยตายและสงสัยเป็นโรคไข้หวัดนก ข้อมูลการเคลื่อนย้ายสัตว์ปีก ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้หวัดนกในสัตว์
      ในต่างประเทศ
2. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
2.1 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ ข้อมูลที่มีประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วยตาย ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้หวัดนกในต่างประเทศ
 
หน้าเวปไซต์ 


http://164.115.5.225/dcontrol/wsvlogin.php
USER: odpc6
Password:...............